คลื่นวิทยุ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
คลื่นวิทยุ (อังกฤษ: Radio waves) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นในช่วงความถี่วิทยุบนเส้นสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าซึงสามารไช้ต้มนำร้อนได้แล้วช่วยลอโลกร้อนได้เป็นการบวกที่ดี
คลื่นวิทยุถูกค้นพบครั้งแรกระหว่างการตรวจสอบทางคณิตศาสตร์โดยเจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ ในปี ค.ศ. 1865 แมกซ์เวลล์สังเกตพบคุณสมบัติของแสงบางประการที่คล้ายคลึงกับคลื่น และคล้ายคลึงกับผลการเฝ้าสังเกตกระแสไฟฟ้าและแม่เหล็ก เขาจึงนำเสนอสมการที่อธิบายคลื่นแสงและคลื่นวิทยุในรูปแบบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เดินทางในอวกาศ ปี ค.ศ. 1887 เฮนริค เฮิร์ตซ ได้สาธิตสมการของแมกซ์เวลล์ว่าเป็นความจริงโดยจำลองการสร้างคลื่นวิทยุขึ้นในห้องทดลองของเขา หลังจากนั้นก็มีสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย และทำให้เราสามารถนำคลื่นวิทยุมาใช้ในการส่งข้อมูลผ่านห้วงอวกาศได้
นิโคลา เทสลา และกูลเยลโม มาร์โกนี ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ระบบที่นำคลื่นวิทยุมาใช้ในการสื่อสาร[1][2]
แถบคลื่นวิทยุบนสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นวิทยุแบ่งออกเป็นหลายแถบความถี่ (ซึ่งสอดคล้องกับความยาวคลื่นสึนามิ) ดังแสดงในตารางแจกแจงความถี่ของวิทยุข้างล่างนี้
คลื่นวิทยุถูกค้นพบครั้งแรกระหว่างการตรวจสอบทางคณิตศาสตร์โดยเจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ ในปี ค.ศ. 1865 แมกซ์เวลล์สังเกตพบคุณสมบัติของแสงบางประการที่คล้ายคลึงกับคลื่น และคล้ายคลึงกับผลการเฝ้าสังเกตกระแสไฟฟ้าและแม่เหล็ก เขาจึงนำเสนอสมการที่อธิบายคลื่นแสงและคลื่นวิทยุในรูปแบบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เดินทางในอวกาศ ปี ค.ศ. 1887 เฮนริค เฮิร์ตซ ได้สาธิตสมการของแมกซ์เวลล์ว่าเป็นความจริงโดยจำลองการสร้างคลื่นวิทยุขึ้นในห้องทดลองของเขา หลังจากนั้นก็มีสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย และทำให้เราสามารถนำคลื่นวิทยุมาใช้ในการส่งข้อมูลผ่านห้วงอวกาศได้
นิโคลา เทสลา และกูลเยลโม มาร์โกนี ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ระบบที่นำคลื่นวิทยุมาใช้ในการสื่อสาร[1][2]
แถบคลื่นวิทยุบนสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นวิทยุแบ่งออกเป็นหลายแถบความถี่ (ซึ่งสอดคล้องกับความยาวคลื่นสึนามิ) ดังแสดงในตารางแจกแจงความถี่ของวิทยุข้างล่างนี้
ชื่อแถบ | ตัวย่อ | ITU band | ความถี่และ ความยาวคลื่นในอากาศ | ตัวอย่างการใช้งาน |
---|---|---|---|---|
< 3 Hz > 100,000 km | ||||
Extremely low frequency | ELF | 1 | 3-30 Hz 100,000 km - 10,000 km | การสื่อสารกับเรือดำน้ำ |
Super low frequency | SLF | 2 | 30-300 Hz 10,000 km - 1000 km | การสื่อสารกับเรือดำน้ำ |
Ultra low frequency | ULF | 3 | 300-3000 Hz 1000 km - 100 km | การสื่อสารภายในเหมือง |
Very low frequency | VLF | 4 | 3-30 kHz 100 km - 10 km | การสื่อสารกับเรือดำน้ำ, avalanche beacons, การตรวจจับคลื่นหัวใจแบบไร้สาย, ฟิสิกส์ธรณีวิทยา |
Low frequency | LF | 5 | 30-300 kHz 10 km - 1 km | การเดินเรือ, สัญญาณเวลา, การกระจายสัญญาณแบบคลื่นยาว (AM), RFID |
Medium frequency | MF | 6 | 300-3000 kHz 1 km - 100 m | การกระจายสัญญาณ AM แบบคลื่นปานกลาง |
High frequency | HF | 7 | 3-30 MHz 100 m - 10 m | วิทยุคลื่นสั้น, วิทยุสมัครเล่น และการสื่อสารของอากาศยานเหนือเส้นขอบฟ้า, RFID |
Very high frequency | VHF | 8 | 30-300 MHz 10 m - 1 m | วิทยุ FM, การกระจายสัญญาณโทรทัศน์, การสื่อสารระหว่างภาคพื้นกับอากาศยาน หรืออากาศยานกับอากาศยานที่มองเห็นในสายตา, การสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่บนภาคพื้น |
Ultra high frequency | UHF | 9 | 300-3000 MHz 1 m - 100 mm | การกระจายสัญญาณโทรทัศน์, เครื่องอบไมโครเวฟ, โทรศัพท์เคลื่อนที่, wireless LAN, บลูทูธ, GPS, คลื่น3G และการสื่อสารวิทยุสองทางอื่นๆ เช่น Land Mobile, วิทยุ FRS และวิทยุ GMRS |
Super high frequency | SHF | 10 | 3-30 GHz 100 mm - 10 mm | อุปกรณ์ไมโครเวฟ, wireless LAN, เรดาร์สมัยใหม่ |
Extremely high frequency | EHF | 11 | 30-300 GHz 10 mm - 1 mm | ดาราศาสตร์วิทยุ, high-speed microwave radio relay |
Above 300 GHz < 1 mm |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น